Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/946
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รองศาสตราจารย์ฉวีวรรณ แก้วไทรฮะ | TH |
dc.date.accessioned | 2557-02-18T09:36:07Z | - |
dc.date.available | 2557-02-18T09:36:07Z | - |
dc.date.issued | 2555 | TH |
dc.identifier | 021_2555.pdf | TH |
dc.identifier.uri | http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/946 | - |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อสร้างบทเรียนปฏิบัติสำเร็จรูป Pl_Lab โดยใช้ประกอบการอบรมครูคณิตศาสตร์ ในสาระที่เกี่ยวกับเรขาคณิตระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บทเรียนปฏิบัติสำเร็จรูป Pl_Lab ที่สร้างขึ้นนี้ได้นำไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับอบรมโครงการบริการวิชาการ เรื่องการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ในภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2555 ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สอนคณิตศาสตร์ในสังกัดสำนักงานการศึกษาขึ้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและสังกีดสำนักงานการศึกษากรุงเทพมหานครที่สมัครลงทะเบียนเข้ากับการอบรม จำนวน 54 คน และสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 40 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การทดลองครั้งนี้ เพื่อ 1.) หาประสิทธิภาพของบทเรียนปฏิบัติสำเร็จรูป Pl_Lab ศึกษาภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ การสื่อความหมายทางเรขาคณิต ที่สร้างขึ้น 2.) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ของครูคณิตศาสตร์ที่ใช้บทเรียนปฏิบัติสำเร็จรูป Pl_Lab ศึกษาภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ การสื่อความหมายทางเรขาคณิต ที่สร้างขึ้น 3.) เพื่อศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของครูคณิตศาสตร์ที่ใช้บทเรียนปฏิบัติสำเร็จรูป Pl_Lab ศึกษาภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ การสื่อความหมายทางเรขาคณิต ที่สร้างขึ้น ซึ่งข้อมูลที่ได้จากการทดลองนั้นได้วิเคราะห์ประสิทธิภาพบทเรียนโดยใช้เกณฑ์ 90/90 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังเรียนบทเรียน โดยใช้ t-test และวิเคราะห์ความคงทนในการเรียนรู้ หลังสิ้นสุดการอบรม 7 วัน และหลังสิ้นสุดการอบรม 30 วัน โดยใช้ค่าความคงทนระหว่าง้อยละ 70 และ 90 ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนปฏิบัติการสาเร็จรูป PI_Lab ในการศึกษาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อความหมายทางเรขาคณิต มีประสิทธิภาพ 90.9 / 92.5 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ ครูคณิตศาสตร์ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้การสื่อความหมายทางเรขาคณิตสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ 0.05 และครูคณิตศาสตร์ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างมีความคงทนในการเรียนรู้ ระหว่างร้อยละ 88.61 และร้อยละ 81.23 | TH |
dc.title | การใช้บทเรียนปฏิบัติการสำเร็จรูป Pl_Lab ในการศึกษาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารความหมายของเรขาคณิต | TH |
Appears in Collections: | งานวิจัย (ภาษาไทย) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
021_2555.pdf | 4.22 MB | Adobe PDF | ![]() View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.