Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/640
Title: | คุณภาพน้าเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างยั่งยืนในเขตพื นที่ อ้าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม |
Authors: | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศรีสุวรรณ เกษมสวัสดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิวพันธุ์ ชูอินทร์ นางสาวรชาดา บัวไพร |
Keywords: | คุณภาพน้้าผิวดิน คุณภาพน้้าเพื่อการอุปโภคบริโภค อ้าเภอบางคนที |
Issue Date: | 2555 |
Abstract: | งานวิจัยเรื่อง คุณภาพน้้าเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างยั่งยืนในเขตพื้นที่อ้าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อส้ารวจตรวจสอบคุณภาพน้้าดิบที่น้ามาผลิตเพื่อการอุปโภคบริโภคภายในพื้นที่อ้าเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม และเสนอแนะแนวทางการด้าเนินงานในการจัดการทรัพยากรน้้าเพื่อการอุปโภคบริโภค งานวิจัยนี้ท้าการศึกษาคุณภาพน้้าในพื้นที่ 13ต้าบลของ อ้าเภอบางคนทีในมีคลองสายหลักที่มีขนาดใหญ่จ้านวน 9 จุด และคลองย่อยที่มีขนาดเล็กจ้านวน 41 จุด ท้าการเก็บตัวอย่าง 2 ฤดูกาล คือ ฤดูร้อน ในวันที่ 27-28 มีนาคม และ 26-27 เมษายน 2555 และฤดูฝน ในวันที่ 27-28 กรกฏาคม และ 18-19 สิงหาคม 2555 ผลการวิเคราะห์คุณภาพน้้าด้านกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิของน้้า กรด-ด่าง พบว่าค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้้าผิวดินประเภทที่ 3 ของกรมควบคุมมลพิษ ส่วนความขุ่นของน้้าและปริมาณของแข็งที่ละลายน้้าทั้งหมดมีค่าไม่สูง แต่ไม่สามารถเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานได้ เนื่องจากไม่มีการก้าหนดค่ามาตรฐาน คุณภาพน้้าด้านเคมี ได้แก่ ค่าออกซิเจนที่ละลายน้้า ค่าบีโอดี และค่าไนโตรเจนในรูปไนเตรตและในรูปแอมโมเนีย พบว่าค่าเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้้าผิวดินประเภทที่ 3 ของกรมควบคุมมลพิษก้าหนด ส่วนค่าไนโตรเจนในรูปไนไตรต์นั้นมีค่าต่้าแต่ไม่สามารถเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานได้ เนื่องจากไม่มีค่าก้าหนด ปริมาณสารโลหะหนักในน้้าพบว่า สารตะกั่ว และสารแคดเมียมมีค่าสูง พบว่าค่าเฉลี่ยสูงกว่าที่เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้้าผิวดินประเภทที่ 3 ของกรมควบคุมมลพิษก้าหนดอยู่มาก ส่วนสารสังกะสี และสารทองแดง ยังมีค่าเฉลี่ยที่ต่้ากว่าที่ เกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้้าผิวดินประเภทที่ 3 ของกรมควบคุมมลพิษก้าหนด ข้อเสนอแนะแนวทางในการจัดการทรัพยากรน้้าเพื่อการอุปโภคบริโภคจากการสัมภาษณ์ประชาชนในพื้นที่อ้าเภอบางคนที ที่อยู่ใกล้แม่น้้าและคลองที่เป็นจุดเก็บตัวอย่างและผลจากการประชุมหารือแนวทางการจัดการคุณภาพน้้า สรุปได้ว่าน่าจะจัดให้มีโครงการอนุรักษ์คูคลองโดยให้อบต.เป็นคนด้าเนินการและมีประชาชนในพื้นทีมีส่วนร่วมในการด้าเนินการ และหามาตรการในการลดการปล่อยน้้าเสียจากแหล่งก้าเนินลงสู่คลอง เช่น จัดให้มีถังดักไขมัน เป็นต้น |
URI: | http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/640 |
Appears in Collections: | งานวิจัย (ภาษาไทย) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
031-55.pdf | 3.12 MB | Adobe PDF | ![]() View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.