Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/497
Title: | ปัจจัยที่มีผลต่อการชักนาการเกิดเหง้าของข่าและหน่อกะลาในหลอดทดลอง |
Authors: | จันทนา กาญจน์กมล |
Keywords: | ข่า หน่อกะลา เหง้า ไมโครไรโซม |
Issue Date: | 2554 |
Abstract: | จากการนาชิ้นส่วนยอดหน่อกะลาและข่าที่ได้จากการเลี้ยงในหลอดทดลอง ระยะ เวลาเลี้ยง 12-14 สัปดาห์ ไปชักนาให้เกิดเหง้า (ไมโครไรโซม) บนอาหารแข็งสูตร Murashige and Skoog (MS) (1962)ที่เติมน้าตาลซูโครสความเข้มข้น 4 ระดับ คือ 30, 60, 90 และ 120 กรัมต่อลิตร ช่วงเวลาให้แสง 0, 8, 16 และ 24 ชั่วโมงต่อวัน ระยะเวลาเลี้ยง 12 สัปดาห์ พบว่า เฉพาะชิ้นส่วนยอดหน่อกะลาเท่านั้นที่ถูกชักนาให้เกิดไมโครไรโซม โดยความเข้มข้นของน้าตาลซูโครสและช่วงเวลาการให้แสง เป็นปัจจัยที่มีความสาคัญต่อการเกิดไมโครไรโซม และจากการทดลองชักนาให้เกิดยอดและราก โดยเลี้ยงบนอาหาร MS ที่เติมน้าตาลซูโครส 120 กรัมต่อลิตร ที่ช่วงเวลาการให้แสง 24 ชั่วโมงต่อวัน สามารถชักนาให้เกิดจานวนยอดและรากได้สูงสุด 6.2 ยอด และ 42 รากต่อชิ้นส่วนพืช จากการทดลองพบว่า ชิ้นส่วนยอดที่เลี้ยงบนอาหาร MS ที่เติมน้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ช่วงเวลาให้แสง 8, 16 และ 24 ชั่วโมงต่อวัน สามารถชักนาให้เกิดรากมีความยาวสูงสุด คือ 11.1, 11.3 และ 11.4 เซนติเมตร ตามลาดับ สาหรับชิ้นส่วนเพาะเลี้ยงบนอาหาร MS ที่เติมน้าตาลซูโครส 90 และ 120 กรัมต่อลิตร ที่ช่วงเวลาให้แสง 8, 16 และ 24 ชั่วโมงต่อวัน สามารถชักนาให้เกิดไมโครไรโซมได้สูงที่สุด 90 เปอร์เซ็นต์ ส่วนการสะสมแป้งในไมโครไรโซมจะเพิ่มขึ้น เมื่อมีปริมาณน้าตาลและระยะเวลาเลี้ยงนานขึ้น |
URI: | http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/497 |
Appears in Collections: | งานวิจัย (ภาษาไทย) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
066-54.pdf | 3.41 MB | Adobe PDF | ![]() View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.