Please use this identifier to cite or link to this item: http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/454
Title: การวิจัยและพัฒนารูปแบบเครือข่ายวิจัยเพื/อพัฒนาทักษะการทำวิจัยในชัน
Authors: สุชีรา มะหิเมือง (ดร.)
วิภาวรรณ เอกวรรณนัง
กรรณิการ์ ภิรมย์รัตน์
Keywords: กระบวนการเครือข่ายวิจัย ความร่วมมือรวมพลังของครูประจำการ หลักสูตรฝึกอบรมครูประจำการ การวิจัยในชัน
Issue Date: 2554
Abstract: การวิจัยนี มีวัตถุประสงค์ เพือ/ พัฒนารูปแบบเครือข่ายวิจัยเพือ/ พัฒนาทักษะการทำวิจัยในชัน เรียนแก่ ครูประจำการ และศึกษาผลการใช้รูปแบบเครือข่ายวิจัยเพื/อพัฒนาทักษะการทำวิจัยในชัน เรียนแก่ครู ประจำการ การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะคือ ระยะพัฒนารูปแบบเครือข่ายวิจัย กลุ่มตัวอย่างการวิจัย ได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจงจากประชากรทีเ/ ป็นนักวิจัยประจำโครงการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรพัฒนา ทักษะการทำวิจัยในชัน เรียนของครูประจำการโดยใช้เครือข่ายวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในภาคเรียนที / 2/2552 จำนวน 5 คน รวมทัง ครูแกนนำและครูนักวิจัยจากโครงการดังกล่าว 6 คน และ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความเหมาะสมเชิงวิชาการของรูปแบบเครือข่าย จำนวน 3 คน และระยะศึกษาผลของ รูปแบบเครือข่ายวิจัยทีพ/ ัฒนาขึน ในบริบทจริงเป็นเวลา 1 ภาคเรียน กลุ่มตัวอย่างได้รับการคัดเลือกจาก ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการซึง/ เป็นครูประจำการทีม/ ีคุณสมบัติตามทีก/ ำหนด คือเป็นครูผู้สอนในโรงเรียน การศึกษาขัน พืน ฐานทีต/ ัง อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบ่งเป็นแกนนำนักวิจัยทีม/ ีคุณสมบัติคือ มีประสบการณ์การทำวิจัยในชัน เรียนและเขียนรายงานด้วยรูปแบบเป็นทางการไม่น้อยกว่า 3 เรือ/ ง และครู นักวิจัยทีม/ ีประสบการณ์การทำวิจัยในชัน เรียนมาแล้วไม่เกิน 1 เรือ/ ง รวมจำนวนทัง สิน 36 คน เครือ/ งมือวิจัย แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เครือ/ งมือคุณภาพใช้ในกระบวนการออกแบบรูปแบบเครือข่ายวิจัย ได้แก่ ผังกระบวนการปฏิบัติงาน และคู่มือกระบวนการคุณภาพการปฏิบัติงานเครือข่ายวิจัย และเครือ/ งมือรวบรวม ข้อมูลผลการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบชนิดเลือกตอบเพือ/ วัดความรู้ความเข้าใจหลักการพืน ฐานการวิจัยในชัน เรียน แบบสอบถามความคิดเห็นตามการรับรู้ถึงความเหมาะสมของรูปแบบเครือข่ายวิจัย และแบบสอบถาม ความรู้สึกพึงพอใจต่อการจัดประชุมประชาคมวิจัย ผลการวิจัยระยะพัฒนารูปแบบเครือข่ายทำให้ได้เครือข่ายทีม/ ีโครงสร้างประกอบด้วย เครือข่ายกลาง 1 เครือข่าย มีสมาชิกคือนักวิจัยประจำโครงการ 3 คน ทำหน้าทีน/ ิเทศติดตามงานเครือข่ายย่อยคนละ 2เครือข่าย รวม 6 เครือข่าย จำแนกตามกลุ่มสาระวิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาฯ สุขศึกษาและพลศึกษา และภาษาต่างประเทศ จำนวนสมาชิกเครือข่ายละ 3-6 คน แต่ละเครือข่าย ต่างเป็นอิสระในการบริหารจัดการกิจกรรมทีเ/ กีย/ วข้องกับการติดต่อสือ/ สาร แลกเปลีย/ นเรียนรู้ และร่วมมือรวม พลังแบบอาสาเครือข่ายกลางซึง/ มีหน้าทีน/ ิเทศติดตามการปฏิบัติงานเครือข่ายวิจัยและการวิจัยในชัน เรียน ด้วยวิธีสือ/ สารทางบล็อก จดหมายอิเลคทรอนิกส์ โทรศัพท์ เข้าร่วมประชุมแบบเผชิญหน้าเพือ/ สังเกตลักษณะการร่วมมือรวมพลัง กระบวนการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าทีแ/ ละกิจกรรมทีเ/ กีย/ วข้องของเครือข่ายกลางมี 4งาน ได้แก่ (1) งานประกาศจัดตัง เครือข่าย (2) งานพัฒนาความรู้ความเข้าใจด้านการวิจัยและกระบวนการเครือข่ายวิจัยให้แก่สมาชิกเครือข่ายวิจัยย่อย (3) งานนิเทศติดตามการปฏิบัติงานเครือข่ายย่อย และ (4) งาน สรุปผลและทบทวนการดำเนินงานด้านกระบวนการเครือข่าย และการวิจัยในชัน เรียน กระบวนการ ปฏิบัติงานของเครือข่ายย่อย 2 งาน ได้แก่ (1) งานประชุมเครือข่ายย่อย และ (2) งานปฏิบัติการตามขัน ตอน วิจัยในชัน เรียน และกระบวนการปฏิบัติงานร่วมระหว่าง 2 เครือข่าย คือ งานจัดประชุมประชาคมวิจัย ผลการประเมินคุณภาพด้านความเหมาะสมเชิงวิชาการโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน พบว่าผ่านการประเมินคุณภาพด้วยค่าดัชนีความสอดคล้องของความเห็นมากกว่า 0.50 ผลการทดลองใช้รูปแบบเครือข่ายวิจัยทีอ/ อกแบบใหม่ พบว่า ค่าเฉลีย/ ความคิดเห็นตามการรับรู้ของกลุ่ม ตัวอย่างการวิจัยต่อความเหมาะสมของรูปแบบเครือข่ายด้านโครงสร้าง กระบวนการปฏิบัติงานในบทบาทหน้าทีข/ อง เครือข่ายกลาง และเครือข่ายย่อยมีค่าเฉลีย/ อยู่ในระดับมากทุกรายการ ยกเว้นด้านความมีประสบการณ์การทำงาน(อายุงาน) หรือวัยทีต่างกัน และการสนับสนุนให้ใช้ช่องทางสือ/ สารทางบล็อก ทีอ/ ยู่ในระดับปานกลาง ลักษณะการร่วมมือรวมพลังระหว่างสมาชิกภายในเครือข่ายย่อยจัดอยู่ในระดับมากทุกรายการ ผลการทดสอบวัดความรู้พืน ฐาน ด้านการวิจัยในชัน เรียนของกลุ่มตัวอย่างก่อนและหลังร่วมโครงการ พบว่าร้อยละ 56.67 มีคะแนนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม การเปรียบเทียบค่าเฉลีย/ ของคะแนนก่อนและหลังเรียนพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทีร/ ะดับ 0.01 การประเมินคุณภาพของงานวิจัยในชัน เรียน ด้วยแบบประเมินคุณภาพงานวิจัยทีพ/ ัฒนาขึน อย่างมีคุณภาพตามหลักการ พบว่างานร้อยละ 63.33 ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดี อย่างไรก็ตามพบประเด็นทีง/ านวิจัยส่วนมากได้คะแนนการประเมินระดับปานกลาง ได้แก่ การสะท้อนผลด้วยการคิดทบทวนการดำเนินการวิจัย การเลือกใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ การออกแบบการวิจัย และการสรุปถึงประโยชน์ทีค/ าดว่าจะได้รับ สำหรับผลการสำรวจความพึงพอใจของสมาชิกเครือข่าย ต่อการจัดประชุมประชาคมวิจัย เพื/อแลกเปลีย/ นเรียนรู้ระหว่างครูนักวิจัยแต่ละเครือข่ายผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้รับเชิญเข้าร่วมงาน จำนวน 1 ครัง พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจโดยเฉลีย/ ในระดับมากทุกรายการ
URI: http://ssruir.ssru.ac.th/handle/ssruir/454
Appears in Collections:งานวิจัย (ภาษาไทย)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
016-54.pdf4.59 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.